16 สิงหาคม 2542

การเงินและงบการเงินรวมไตรมาสที่ 2/2542

หมายเหตุ 7- เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 30 มิถุนายน ประกอบด้วย งบการเงินรวม หลักทรัพย์เพื่อค้า เงินลงทุนทั่วไป รวม 2542 2541 2542 2541 2542 2541 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ตราสารทุน 305,956 417,553 37,675 55,500 343,631 473,053 หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าเงินลงทุน (234,617) (327,434) - (4,828) (234,617) (332,262) ตราสารทุน - สุทธิ 71,339 90,119 37,675 50,672 109,014 140,791 งบการเงินเฉพาะบริษัท หลักทรัพย์เพื่อค้า เงินลงทุนทั่วไป รวม 2542 2541 2542 2541 2542 2541 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ตราสารทุน 305,852 417,449 37,675 55,500 343,527 472,949 หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าเงินลงทุน (234,517) (327,434) - (4,828) (234,517) (332,262) ตราสารทุน - สุทธิ 71,335 90,015 37,675 50,672 109,010 140,687 หมายเหตุ 8 - ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 30 มิถุนายน ประกอบด้วย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท? 2542 2541 2542 2541 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ลูกหนี้การค้า 1,110,531 1,242,409 1,000,549 1,158,386 งานก่อสร้างส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บเงิน ตามใบกำกับสินค้า 430,867 541,039 430,867 541,039 1,541,398 1,783,448 1,431,416 1,699,425 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (329,893) (59,835) (300,068) (53,767) รวม 1,211,505 1,723,613 1,131,348 1,645,658 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท? 2542 2541 2542 2541 พันบาท พันบาท พันบาท พันบาท ยังไม่ถึงกำหนดชำระ 267,869 466,551 266,082 462,058 เกินกำหนดชำระ ตั้งแต่ 1 เดือน ถึง 4 เดือน 378,482 245,466 326,902 227,456 มากกว่า 4 เดือนถึง 12 เดือน 122,197 351,330 97,683 300,297 มากกว่า 12 เดือน ขึ้นไป 341,983 179,062 309,882 168,575 รวม 1,110,531 1,242,409 1,000,549 1,158,386 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2541 บริษัทมีลูกหนี้การค้าค้างนาน จำนวนเงินประมาณ 80.72 ล้านบาท บริษัทไม่ได้บันทึกค่า เผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับลูกหนี้จำนวนดังกล่าว เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่าจะสามารถติดตามรับชำระหนี้ ได้ในอนาคต หมายเหตุ 9 - เงินกู้ยืมระยะยาว ในปี 2539 บริษัทได้กู้ยืมเงินจากธนาคารและสถาบันการเงินต่างประเทศซึ่งเป็นผู้ให้กู้ร่วม 19 แห่ง จำนวนเงิน 80,000,000 เหรียญสหรัฐ และจากธนาคารต่างประเทศแห่งหนึ่งจำนวนเงิน 5,000,000 เหรียญสหรัฐ อัตราดอกเบี้ย อ้างอิงอัตรา SIBOR โดยมีกำหนดชำระเงินต้นและดอกเบี้ยภายในระยะเวลา 3 ปีจากวันที่มีการเบิกถอนเงินกู้และทุก 6 เดือนตามลำดับ และผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกร้องให้บริษัทใหญ่ชำระคืนเงินกู้ก่อนกำหนดภายในระยะเวลา 2 ปีจากวันที่มี การเบิกถอนเงินกู้ ทั้งนี้มีข้อกำหนดการกู้ยืมที่สำคัญ เช่น การที่บริษัทจะต้องดำรงอัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญให้เป็น ไปตามข้อกำหนด ในปี 2540 จนถึงปัจจุบันบริษัทไม่สามารถดำรงอัตราส่วนทางการเงินดังกล่าวได้ ซึ่งอาจทำให้เจ้าหนี้ สามารถเรียกหนี้เงินกู้คืนได้ทันที ในงวด 2542 บริษัทย่อยมีเงินกู้ยืมระยะยาวจำนวนเงิน 147 ล้านบาท ได้จัดประเภทเป็นเงินกู้ยืมระยะยาวที่เจ้าหนี้ สามารถเรียกคืนได้ทันที แสดงไว้ภายใต้หนี้สินหมุนเวียน เนื่องจากบริษัทย่อยดังกล่าวไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข การกู้ยืม ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการเจรจาขอปรับโครงสร้างหนี้และในงวด 2541 บริษัทย่อยมีส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี จำนวนเงินประมาณ 24.50 ล้านบาท ซึ่งแสดงไว้ภายใต้หนี้สินหมุนเวียน หมายเหตุ 10- ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ในปี 2539 บริษัทได้ตีราคาที่ดินเพิ่มจำนวน 834.57 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 12/2539 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2539 และได้บันทึกส่วนที่ตีราคาเพิ่มดังกล่าวเป็นส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของ ผู้ถือหุ้น ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินการประเมินราคาที่ดินดังกล่าวใหม่โดยผู้ประเมินราคาอิสระ และบริษัทย่อยแห่ง หนึ่งได้ตีราคาที่ดินเพิ่มจำนวนประมาณ 185 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารของบริษัทครั้งที่ 4/2539 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2539 และบริษัทได้บันทึกส่วนที่ตีราคาเพิ่มดังกล่าวเป็นส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ใน ส่วนของผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนหุ้นที่ถืออยู่ในบริษัทย่อยจำนวนเงินประมาณ 94.61 ล้านบาท ต่อมาบริษัทย่อยแห่งนี้ได้ตี ราคาที่ดินลดลงจำนวนเงินประมาณ 36.79 ล้านบาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารของบริษัท ครั้งที่ 6/2542 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2542 และตามรายงานของผู้ประเมินอิสระ ลงวันที่ 14, 18 และ 21 มิถุนายน 2542 โดยใช้วิธี เปรียบเทียบข้อมูลกับราคาตลาด บริษัทได้บันทึกส่วนที่ตีราคาลดลงดังกล่าวไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุ 11 - ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2542 ดังนี้ ล้านบาท ภาระค้ำประกันสินเชื่อให้แก่บริษัทในเครือ 143.92 หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยสถาบันการเงินในนามบริษัท 1,836.39 ภาระค้ำประกันสินเชื่อให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 244.74 ภาระค้ำประกันสินเชื่อให้แก่บริษัทอื่น 64.41 บริษัทถูกฟ้องร้องดำเนินคดี 5.88 บริษัทยังมีภาระค้ำประกันแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันนอกเหนือจากภาระค้ำประกันดังกล่าวข้างต้นอีกจำนวน 309.36 ล้านบาท แต่ผู้ร่วมทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวข้างต้นได้มีหนังสือค้ำประกันจากธนาคารค้ำประกันกลับให้ บริษัทเต็มวงเงิน อันทำให้บริษัทไม่มีความเสี่ยงจากภาระค้ำประกันดังกล่าวแต่อย่างใด หมายเหตุ 12- การจำแนกข้อมูลทางการเงินตามส่วนงาน บริษัทและบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจ งานก่อสร้าง ขายสินค้า และให้บริการ และดำเนินธุรกิจในส่วนงานหลักทาง ภูมิศาสตร์เดียว คือ ในประเทศไทย ข้อมูลจำแนกตามส่วนงานจำแนกตามกิจกรรมสำหรับระยะ 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 งานก่อสร้าง การขาย การให้บริการ รวม ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท รายได้ 1,768.21 109.10 6.46 1,883.77 ต้นทุนขาย (1,553.88) (102.21) (7.97) (1,664.06) กำไรขั้นต้น 214.33 6.89 (1.51) 219.71 หมายเหตุ 13 - การจัดประเภทรายการใหม่ งบการเงินสำหรับระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ ได้จัด ประเภทรายการใหม่ให้สอดคล้องกับงบการเงินสำหรับระยะเวลา 3 เดือน และ 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 หมายเหตุ 14- ปัญหาปี ค.ศ. 2000 (ไม่ได้สอบทานและไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานการสอบทานงบการเงิน) ปัญหาระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับปี ค.ศ. 2000 เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ระบบตัวเลขสองหลักเพื่อระบุปีแทนที่จะ เป็นตัวเลขสี่หลัก โดยระบบคอมพิวเตอร์อาจอ่านปี ค.ศ. 2000 เป็นปีอื่น ๆ ทั้งนี้ระบบที่ใช้ดังกล่าวอาจทำให้เกิดข้อผิด พลาดเมื่อมีการประมวลข้อมูลที่ใช้วันที่ก่อน ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2543 ข้อผิดพลาดดังกล่าวอาจมีผลต่อการ ดำเนินงานและการรายงานทางการเงิน ซึ่งอาจเป็นข้อผิดพลาดที่เล็กน้อยจนถึงขั้นเกิดความล้มเหลวของระบบงานที่ สำคัญ หากมิได้ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์อย่างเหมาะสมและทันกาล และอาจมีผลกระทบต่อความสามารถของกิจ การในการดำเนินธุรกิจปกติ นอกจากนี้ยังไม่อาจมั่นใจได้ว่ากิจการ ตลอดจนผู้ซื้อสินค้า ผู้ขายสินค้าและกิจการอื่นที่ ดำเนินธุรกิจด้วยจะสามารถแก้ไขปัญหาระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับปี ค.ศ. 2000 ได้ทั้งหมด บริษัทได้ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อแก้ไขปัญหาปี ค.ศ. 2000 เรียบร้อยแล้วและรายจ่ายที่ เกี่ยวข้องมีจำนวนเงินไม่มีสาระสำคัญ ถึงแม้บริษัทจะ สามารถทำการแก้ไขปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ได้ทันเมื่อถึงปี ค.ศ. 2000 บริษัทยังคงมีความเสี่ยงต่อการที่บริษัทอื่นที่บริษัทดำเนินธุรกิจด้วย อาจไม่สามารถแก้ไขปรับปรุงระบบได้ ทันกาล และอาจมีผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทได้ ซึ่งบริษัทยังไม่สามารถประมาณผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ได้ในขณะนี้ ***