15 November 1999

การเงินและงบการเงินรวมไตรมาสที่ 3/2542

ลดระหว่างงวด - - - - ยอดปลายงวด (153,046) (245,100) (153,046) (243,937) รวมส่วนขาดของผู้ถือหุ้น (1,328,272) (314,278) (1,404,120) (407,724) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบขาดทุนสะสม สำหรับระยะเวลา 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 ขาดทุนสะสม ยอดยกมาต้นงวด (2,038,591) (1,915,568) (2,030,993) (1,907,970) กำไร(ขาดทุน)สุทธิ (498,361) 75,053 (498,361) 75,053 รวมขาดทุนสะสม (2,536,952) (1,840,515) (2,529,354) (1,832,917) กำไรสะสมส่วนที่ได้จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย 56,163 56,163 48,565 48,565 รวมขาดทุนสะสม (2,480,789) (1,784,352) (2,480,789) (1,784,352) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบขาดทุนสะสม สำหรับระยะเวลา 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 ขาดทุนสะสม ยอดยกมาต้นงวด (1,890,899) (2,264,928) (1,883,301) (2,257,330) ส่วนปรับปรุงขาดทุนสะสมต้นงวดของบริษัทย่อย ที่ไม่ได้นำมาจัดทำงบการเงินรวม 20,330 - 20,330 - กำไร(ขาดทุน)สุทธิ (666,383) 424,413 (666,383) 424,413 รวมขาดทุนสะสม (2,536,952) (1,840,515) (2,529,354) (1,832,917) กำไรสะสมส่วนที่ได้จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย 56,163 56,163 48,565 48,565 รวมขาดทุนสะสม (2,480,789) (1,784,352) (2,480,789) (1,784,352) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับระยะเวลา 3 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร(ขาดทุน)สุทธิ (498,361) 75,053 (498,361) 75,053 รายการปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิเป็นเงินสดสุทธิรับ(จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ (12,670) 140,852 (11,196) 135,141 ค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดบัญชี 29,534 36,056 27,548 28,432 (กำไร)ขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุนชั่วคราว (38) 37 (38) 37 (กำไร)ขาดทุนสุทธิที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด (16,078) 37 (16,078) 37 ขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาว - 65,002 - 65,002 ส่วนแบ่งของขาดทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า 22,042 78,487 57,417 8,932 (กำไร)ขาดทุนจากการจำหน่ายอุปกรณ์ (4,434) (848) (1,381) 751 ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ 164 - 166 742 กำไรจากการจำหน่ายอาคารชุด - (4,348) - (4,348) ขาดทุนจากการลดลงของอาคารชุด - 8,863 - 8,863 ส่วนเกินของราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่สูงกว่าราคาทุนตัดบัญช - (50,054) - (50,054) (กำไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น 388,583 (324,342) 368,155 (277,505) ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (11,800) 8,942 (11,800) 8,942 กำไรจากการประนอมหนี้ - (48,247) - - การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินจากกิจกรรมดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินฝากธนาคารที่ติดภาระผูกพัน (201,788) - (199,542) - ลูกหนี้การค้า 235,309 271,083 182,239 305,826 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 3,234 78,209 8,660 60,557 ลูกหนี้เงินประกันผลงาน 158,639 (30,775) 158,598 (30,631) สินค้าคงเหลือ 169 55,180 - - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (5,827) (9,009) (4,524) (13,219) เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองแก่กรรมการและลูกจ้าง (1,192) 11,561 (1,882) 12,082 สินทรัพย์อื่น (60,824) 1,930 (60,258) 1,541 ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้า (148,593) (261,049) (140,534) (284,091) เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 8,192 21,384 (782) (16,722) เงินรับล่วงหน้าตามสัญญา (28,778) (121,839) (28,978) (47,766) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 134,488 75,784 132,628 62,834 หนี้สินอื่น (590) (28) (589) (28) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 402 (3,314) - - เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน (10,217) 74,607 (40,532) 50,408 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว(เพิ่มขึ้น)ลดลง (24) - (24) - ตั๋วเงินรับบริษัทการเงินลดลง 2,845 41,110 - - เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนชั่วคราว 168 2 168 2 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (23,630) - (29,234) - เงินลงทุน(เพิ่มขึ้น)ลดลง (20,528) (9,865) (23,188) 26,255 เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาว - 38,500 - 38,500 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง 1,754 225,358 1,754 254,465 เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์ (17,676) (34,766) (16,807) (25,026) เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 6,467 4,909 3,413 948 อาคารชุดลดลง - 8,147 - 8,147 เงินล่วงหน้าซื้ออาคารชุดเพิ่มขึ้น - (2,330) - (2,330) เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมการลงทุน (50,624) 271,065 (63,918) 300,961 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) 4,053 (38,650) 8,308 (47,125) เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน 4,053 (38,650) 8,308 (47,125) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (56,788) 307,022 (96,142) 304,244 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันต้นงวด (หมายเหตุ 4 และ 6) 282,059 335,751 256,197 309,419 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด (หมายเหตุ 4 และ 6) 225,271 642,773 160,055 613,663 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายในระหว่างงวด ดอกเบี้ยจ่าย 7,708 213,787 3,137 206,197 ภาษีเงินได้ 15,999 31,962 15,389 31,918 ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับระยะเวลา 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร(ขาดทุน)สุทธิ (666,383) 424,413 (666,383) 424,413 รายการปรับกระทบกำไร(ขาดทุน)สุทธิเป็นเงินสดสุทธิรับ(จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ (22,573) 153,782 (31,612) 144,891 ค่าเสื่อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดบัญชี 82,845 84,124 76,805 78,574 (กำไร)ขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุนชั่วคราว 95,047 18,974 95,047 18,974 (กำไร)ขาดทุนสุทธิที่ยังไม่เกิดจากหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (106,711) (35,444) (106,711) (35,444) ขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาว 73,398 88,152 73,398 88,152 ส่วนแบ่ง(กำไร)ขาดทุนตามวิธีส่วนได้เสียจากบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า 6,068 53,990 83,969 (27,458) ค่าเผื่อการลดค่าเงินลงทุนระยะยาว 1,162 10,000 - 10,000 (กำไร)ขาดทุนจากการจำหน่ายอุปกรณ์ (4,800) (4,762) (1,043) (226) ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายอุปกรณ์ 1,336 1,628 1,342 1,628 ขาดทุนจากการจำหน่ายอาคารชุด 703 13,456 703 13,456 ขาดทุนจากการลดลงของอาคารชุด (1,125) 8,863 (1,125) 8,863 ส่วนเกินของราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่สูงกว่าราคาทุนตัดบัญชี - (53,495) - (53,495) (กำไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น 390,885 (736,780) 377,968 (722,798) ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (58,809) 52,459 (51,890) 52,459 กำไรจากการจำหน่ายและยึดคืนสินค้า (2,990) - - - กำไรจากการประนอมหนี้ - (48,247) - - การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินจากกิจกรรมดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินฝากธนาคารที่ติดภาระผูกพัน (755,636) - (752,523) - ลูกหนี้การค้า 251,205 803,340 164,340 771,123 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (5,636) (25,864) (6,688) (4,735) ลูกหนี้เงินประกันผลงาน 170,311 (48,960) 170,319 (48,744) สินค้าคงเหลือ 58,022 41,520 - - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (41,641) (134,891) (46,712) (136,032) เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองแก่กรรมการและลูกจ้าง (3,106) 10,564 (1,896) 10,004 สินทรัพย์อื่น (108,189) 26,116 (109,320) (1,943) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน (หน่วย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2542 2541 2542 2541 หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้า (213,310) (328,346) (164,984) (318,259) เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7,403 (5,862) (2,244) (33,180) เงินรับล่วงหน้าตามสัญญา 27,721 (265,512) 27,765 (159,037) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 326,388 42,516 308,652 25,899 หนี้สินอื่น (9,743) (32,193) (9,743) (262) ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 14,352 (30,031) - - เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดำเนินงาน (493,806) 83,510 (572,566) 106,823 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว(เพิ่มขึ้น)ลดลง (24) (14,600) (24) (14,574) ตั๋วเงินรับบริษัทการเงินลดลง 2,015 41,110 - - เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว 7,169 7,658 7,169 7,658 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน(เพิ่มขึ้น)ลดลง (111,528) - 2,333 - เงินลงทุน(เพิ่มขึ้น)ลดลง (107,069) (25,365) (135,379) 16,255 เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาว 79,270 39,100 79,270 39,100 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง 32,494 561,682 35,966 392,280 เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์ (33,935) (7,074) (56,412) (42,555) เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ 12,888 4,699 8,145 3,067 อาคารชุด(เพิ่มขึ้น)ลดลง 4,018 (7,116) 4,018 (7,116) เงินสดรับจากการขายอาคารชุด 4,814 - 4,814 - เงินล่วงหน้าซื้ออาคารชุดลดลง - 24,865 - 24,865 เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมการลงทุน (109,888) 624,959 (50,100) 418,980 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) 27,851 (139,105) 11,113 45,459 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกรรมการเพิ่มขึ้น 6,322 - - - เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น - 30,000 - - เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน 34,173 (109,105) 11,113 45,459 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (569,521) 599,364 (611,553) 571,262 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันต้นงวด (หมายเหตุ 4 และ 6) 794,792 43,409 771,608 42,401 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด (หมายเหตุ 4 และ 6) 225,271 642,773 160,055 613,663 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายในระหว่างงวด ดอกเบี้ยจ่าย 24,131 251,008 8,533 221,376 ภาษีเงินได้ 55,720 102,782 54,136 102,729 ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 30 กันยายน 2542 และ 2541 (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) หมายเหตุ 1 - สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและหลักในการทำงบการเงิน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2540 ประเทศไทยและบางประเทศในเขตภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคประสบปัญหาความยุ่งยากทาง เศรษฐกิจ อันเกี่ยวเนื่องกับการลดลงของมูลค่าของหน่วยเงินตรา และการลดลงของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศ มีผลให้รัฐบาลไทยต้องขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศเพื่อผ่อนคลายและแก้ไข วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ งบการเงินของบริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") และบริษัทย่อย สำหรับระยะเวลา 3 เดือน และ 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 และงบการเงิน เฉพาะของบริษัทฯ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกันได้ทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปที่ใช้ในประเทศไทย โดยถือตามข้อสมมติฐานทางบัญชีที่ว่ากิจการจะดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยสะท้อนถึงผลกระทบจากสภาวะทาง เศรษฐกิจในปัจจุบัน ซึ่งประเมินโดยฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อย ซึ่งอาจแตกต่างไปจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้น จริงอย่างมีสาระสำคัญ ผลกระทบจากความไม่แน่นอนเหล่านี้ต่อมูลค่าและการจัดประเภทของสินทรัพย์และหนี้สินใน งบดุล ยังไม่อาจประมาณได้ในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น งบการเงินรวมของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำหรับ ระยะเวลา 3 เดือน และ 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 และงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯสำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน จึงยังไม่ได้รวมรายการปรับปรุงซึ่งอาจมีขึ้นจากผลกระทบของสภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว บริษัทและบริษัทย่อยมีผลขาดทุนสุทธิสำหรับงวด 3 เดือนและ 9 เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 จำนวนเงิน 498.36 ล้านบาทและ 666.38 ล้านบาทในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2542 มี ขาดทุนสะสมเป็นจำนวน 2,536.95 ล้านบาท และ 2,529.35 ล้านบาท ตามลำดับ มีหนี้สินหมุนเวียนสูงกว่าสินทรัพย์ หมุนเวียนจำนวนเงิน 3,905.71 ล้านบาท และ 3,657.37 ล้านบาท ตามลำดับ และมีหนี้สินรวมสูงกว่าสินทรัพย์รวม จำนวนเงิน 1,260.02 ล้านบาท และ 1,404.12 ล้านบาท ตามลำดับ ของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัท จากผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญข้างต้น ทำให้บริษัทและบริษัทย่อยได้ผิดนัดการชำระเงินกู้ยืมพร้อมดอกเบี้ยและ อัตราส่วนทางการเงินตามสัญญาเงินกู้ยืม ซึ่งอาจทำให้เจ้าหนี้สามารถใช้สิทธิเรียกคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยได้ทันที ใน วันที่ 20 สิงหาคม 2541 และ วันที่ 4 กันยายน 2541 เจ้าหนี้เงินกู้ยืมได้แจ้งต่อบริษัท เพื่อจะใช้สิทธิเรียกร้องให้ บริษัท ชำระคืนเงินกู้ก่อนกำหนดตามที่ระบุในสัญญาเงินกู้ ทั้งนี้บริษัทได้แต่งตั้งที่ปรึกษาทางด้านการเงินเพื่อช่วยในการจัดทำ แผนและดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างทางการเงินจนถึงวันที่เสนองบการเงิน บริษัทอยู่ในระหว่างการดำเนินการปรับ โครงสร้างหนี้ หมายเหตุ 2 - มูลฐานของงบการเงินรวม 2.1 เกณฑ์การเสนองบการเงินรวม งบการเงินรวมของบริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ ได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปที่ใช้ในประเทศไทยและตามข้อ กำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย งบการเงินรวมสำหรับระยะเวลา 3 เดือนและ 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 ประกอบด้วย งบการเงิน ของ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และงบการเงินของบริษัทย่อยคือ บริษัท ซิโน-ไทย คอนสตรัคชั่น เซอร์วิส จำกัดและบริษัท ซิโน-ไทย รีซอร์เซส ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)และงบการ เงินรวม สำหรับระยะเวลา 3 เดือนและ 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2541 ประกอบด้วย งบการเงินของ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และงบการเงินของบริษัทย่อยและบริษัทย่อย ของบริษัทย่อยคือ บริษัทซิโน-ไทย คอนสตรัคชั่น เซอร์วิส จำกัดและบริษัท ซิโน-ไทย รีซอร์เซส ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)และบริษัท สยามหินประดับ จำกัด ดังนี้ อัตราร้อยละของ ยอดสินทรัพย์ ยอดรายได้ ที่รวมอยู่ใน ที่รวมอยู่ใน การถือหุ้น สินทรัพย์รวม รายได้รวม โดยบริษัท ในงบการเงินรวม ในงบการเงินรวม 2542 2541 2542 2541 2542 2541 บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยตรง : - บริษัท ซิโนไทย คอนสตรัคชั่น เซอร์วิส จำกัด 99.99 99.99 6.09 7.44 3.67 7.58 บริษัท ซิโน-ไทย รีซอร์เซส ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) 51.16 51.16 7.01 6.08 3.15 1.22 บริษัทย่อยของบริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยอ้อม : - บริษัท สยามหินประดับ จำกัด - 35.81 ในงวด 2541 ที่มีอำนาจในการควบคุม เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2542 บริษัทได้จำหน่ายหุ้นของบริษัท สยามหินประดับ จำกัด ให้กับบุคคลภายนอก จาก เดิมบริษัท ถืออยู่ร้อยละ 70 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 19 บริษัทจึงไม่ได้นำงบการเงินดังกล่าวมาจัดทำงบการเงิน รวม ในการจัดทำงบการเงินรวมได้ตัดรายการค้าและยอดคงเหลือระหว่างกันที่เป็นสาระสำคัญออกแล้ว 2.2 ส่วนเกินของราคาทุนที่สูงกว่าราคาตามบัญชีของเงินลงทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2542 และ 2541 ส่วนเกินของราคาทุนที่สูงกว่าราคาตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมมีกำหนดตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 10 ปี หมายเหตุ 3 - การดำเนินงานของบริษัทย่อย บริษัทย่อยได้รับหนังสือแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการเข้าเกณฑ์อาจถูกเพิกถอนออกจากการ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน ตามหนังสือเลขที่ บจ./ม 1921/2540 ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2540 เนื่องจากสินทรัพย์ที่ใช้ใน การดำเนินการของบริษัทได้ลดลงในจำนวนที่มีนัยสำคัญอันเนื่องมาจากการหยุดดำเนินการขุดแร่ดีบุก ขณะนี้บริษัทอยู่ ระหว่างดำเนินการเพื่อให้พ้นเหตุแห่งการถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนดังกล่าว เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2541 บริษัทย่อยทำสัญญาแต่งตั้งสถาบันการเงินแห่งหนึ่งเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการดำเนิน การจัดทำแผนฟื้นฟูบริษัท เพื่อแก้ไขเหตุแห่งการถูกเพิกถอนออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ในงวด 2542 บริษัทย่อยดังกล่าวมีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อเนื่อง ผิดนัดการชำระหนี้และเงื่อนไขตามสัญญา กู้ยืมเงินและมีลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ค้างชำระเป็นเวลานานที่มีความไม่แน่นอนในการรับชำระหนี้ ซึ่งมีสาระ สำคัญอย่างมาก หมายเหตุ 4 - สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ การรับรู้รายได้ รายได้จากงานก่อสร้างของบริษัทบันทึกตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำเสร็จ ซึ่งประเมินโดยวิศวกรของบริษัท รายได้ที่บันทึกตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำเสร็จส่วนที่เกินกว่ารายได้ที่มีการเรียกเก็บเงินตามใบกำกับสินค้าแล้ว ทั้งสิ้นบันทึกเป็นลูกหนี้การค้า บริษัทย่อยบันทึกรายได้จากการขายเมื่อส่งมอบสินค้า รายได้จากงานบริการบันทึกตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำ เสร็จ ซึ่งมีการเรียกเก็บเงินตามใบกำกับสินค้าแล้ว รายได้จากการให้เช่าเครื่องมือ และอุปกรณ์ บันทึกเมื่อมีการเรียก เก็บเงินตามใบกำกับสินค้า การรับรู้ค่าใช้จ่าย ต้นทุนงานก่อสร้างบันทึกตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำเสร็จของราคาต้นทุนโดยประมาณหรือตามต้นทุนงาน ก่อสร้างที่เกิดขึ้นจริง ผลต่างระหว่างต้นทุนที่บันทึกตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำเสร็จของราคาต้นทุนโดย ประมาณและต้นทุนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นจริง ในกรณีที่บริษัทบันทึกต้นทุนตามอัตราส่วนร้อยละของงานที่ทำเสร็จ บันทึกเป็นงานระหว่างก่อสร้างตามสัญญา บริษัทย่อยบันทึกต้นทุนงานบริการตามจำนวนที่เกิดขึ้นจริง ค่าใช้จ่ายบันทึกตามเกณฑ์สิทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินสดและเงินฝากธนาคารและตั๋วเงินรับสถาบันการเงินที่ไม่ติดภาระจำนำ ประเภทอายุไม่เกิน 3 เดือน และไม่รวมเงินฝากธนาคารที่ติดภาระผูกพัน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตามจำนวนที่คาดว่าจะเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือของบริษัทย่อยแสดงในราคาทุนตามวิธีจ่ายสินค้าที่รับเข้ามาก่อนออกไปก่อนสุทธิจากผลขาดทุนของสิน ค้าเสื่อมสภาพ เงินลงทุน เงินลงทุนในหลักทรัพย์สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2542 ได้จัดประเภทและแสดงราคาโดยถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน ดังนี้ เงินลงทุนชั่วคราวในตราสารทุนในความต้องการของตลาดที่เป็นหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เพื่อค้ารับรู้ในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนชั่วคราวในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดซึ่งถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปแสดงด้วยราคาทุน เงินลงทุนระยะยาวในตราสารทุนในความต้องการของตลาดที่เป็นหลักทรัพย์เผื่อขายแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น และจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนเมื่อได้จำหน่ายเงินลงทุนนั้น เงินลงทุนระยะยาวที่เป็นเงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด ซึ่งบริษัทถือเป็นเงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุน ต้นทุนของเงินลงทุนชั่วคราวและเงินลงทุนระยะยาวที่จำหน่ายในระหว่างงวด คำนวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เงินลงทุนในหลักทรัพย์ สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2541 แสดงดังนี้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์จดทะเบียนแสดงในราคาทุนรวมหรือราคาตลาดรวมที่ต่ำกว่า การลดลงของหลักทรัพย์ในความ ต้องการของตลาดประเภทไม่หมุนเวียน แสดงไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม แสดงตามวิธี ส่วนได้เสีย เงินลงทุนในหลักทรัพย์อื่น ซึ่งบริษัทถือหุ้นในอัตราต่ำกว่าร้อยละ 20 แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการ ลดราคาเงินลงทุน เงินลงทุนในกิจการร่วมค้าที่บริษัทมีอัตราส่วนแบ่งกำไรร้อยละ 20 ขึ้นไป แสดงตามวิธีส่วนได้เสีย และรวมตามสัดส่วน สำหรับกิจการร่วมค้าทั้งหมดที่บริษัทมีส่วนร่วมในอำนาจควบคุม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ แสดงในราคาทุน ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้สินทรัพย์โดย ประมาณระหว่าง 5 - 20 ปี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีของบริษัท ซึ่งรวมอยู่ในสินทรัพย์อื่น ได้แก่ค่าธรรมเนียมการประกันและจำหน่ายหลักทรัพย์ มี กำหนดตัดบัญชีภายในระยะเวลา 5 ปี และ 10 ปี ตามลำดับ (ยังมีต่อ)